การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม

  1. ระบบบำบัดมลพิษ

  • ระบบบำบัดมลพิษอากาศ

โรงงานมีการปล่อยมลพิษอากาศจากกระบวนการเผาไหม้เชื้อเพลิงชีวมวล(กากอ้อย)ซึ่งมีจำนวน ชุด ได้แก่ หม้อไอน้ำขนาด 120  ตันต่อชั่วโมง  จำนวน ชุด  หม้อไอน้ำขนาด 80  ตันต่อชั่วโมง  จำนวน ชุด และหม้อไอน้ำขนาด 60 ตันต่อชั่วโมง จำนวน ชุด (สำรองโดยมีระบบบำบัดมลพิษอากาศก่อนปล่อยออกสู่สิ่งแวดล้อม ได้แก่ Multicyclone , Wet Scrubber

  • ระบบบำบัดมลพิษน้ำ

โรงงานมีการจัดการน้ำเสียจากกระบวนการผลิตน้ำตาลทราย การล้างเครื่องจักรและอุปกรณ์ โดยเข้าสู่ระบบบำบัดน้ำเสียแบบ Oxidation pond และไม่มีการปล่อยน้ำเสียที่ผ่านการบำบัดแล้วออกสู่สิ่งแวดล้อมและพื้นที่ชุมชน

  • การจัดการกากอุตสาหกรรม

โรงงานแบ่งออกเป็น ประเภทใหญ่ๆ คือ ของเสียไม่อันตราย ได้แก่ กระดาษ ขวดน้ำพลาสติก ฯลฯ และของเสียอันตราย ได้แก่ กระดาษปนเปื้อนตะกั่ว น้ำปนเปื้อนตะกั่ว ฯลฯ โดยของเสียไม่อันตรายส่งให้เทศบาลเมืองท่าผา และของเสียอันตรายส่งให้หน่วยงานที่ได้รับการอนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม มารับไปกำจัด อย่างถูกวิธีและเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด

  1. การตรวจวัดคุณภาพอากาศจากปล่อง

โรงงานดำเนินการตรวจวัดคุณภาพอากาศจากปล่องทุกปี โดยดัชนีที่ทำการตรวจวัด ได้แก่ ปริมาณฝุ่นละออง (TSP)  ปริมาณก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2ปริมาณก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน (NOas NO2และปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) โดยอ้างอิงค่ามาตรฐานประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียจากโรงงานไฟฟ้าใหม่ พ.. 2553 โดยหน่วยงานที่ได้รับการอนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม

ดัชนี

หน่วย

ค่ามาตรฐาน

ปริมาณฝุ่นละออง
(TSP)

Mg/Nm3

120

ปริมาณก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์
(SO2)

ppm

60

ปริมาณก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน
(NOx
as NO
2)

ppm

200

ปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์
(CO)

ppm

  1. การตรวจวัดคุณภาพน้ำเสีย

โรงงานมีการจัดการคุณภาพน้ำเสียก่อนปล่อยเข้าสู่ระบบบำบัดน้ำเสีย โดยค่าพารามิเตอร์ที่ทำการตรวจวัด ได้แก่ pH , DO , BOD , COD , Chloride , Oil&Grease , TSS , TSS , TKN , Total Phosphorus  ซึ่งจะกำหนดตรวจทุกปี

  1. การตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัย และความปลอดภัยภายในสถานประกอบการ ดำเนินการตรวจวัดทุกปี

ดัชนี

อ้างอิง

ปริมาณฝุ่น

(Total
Dust
/ Respirable
Dust
)

ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรื่อง ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับภาวะแวดล้อม
(สารเคมี)

ไอระเหยสารเคมี

(HCl
/
NaOH)

ระดับเสียงเฉลี่ย
8
ชั่วโมง

กฎกระทรวง
กำหนดมาตรฐานในการบริหารและ

การจัดการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง
และเสียง

ความร้อน
ความเข้มของแสง
  1. การตรวจวัดคุณภาพอากาศและระดับเสียงในบรรยากาศ

  • การตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศ

ทำการตรวจวัดจำนวน  สถานี คือ บริเวณโรงเรียนวัดดอนขมิ้น บริเวณวัดบ้านฆ้องน้อยบริเวณโรงเรียนธีรศาสตร์ และบริเวณ รพ.สต.โกสินารายณ์โดยมีดัชนีตรวจวัด คือ Total Suspended particulate (TSP) , Particulate Matter less than 10 Microns (PM-10) , Sulfur Dioxide (SO2และ Nitrogen Dioxide (NO2)

  •  การตรวจวัดระดับเสียงในบรรยากาศ

ทำการตรวจวัดจำนวน สถานี คือ บริเวณบ้านหัวทุ่ง และบริเวณโรงเรียนวัดโกสินารายณ์ โดยมีดัชนีตรวจวัด คือ ระดับเสียงเฉลี่ย นาที ระดับเสียงเฉลี่ย ชั่วโมง ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมงระดับเสียงกลางวันกลางคืน ระดับเสียงสูงสุด และระดับเสียงเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 90